หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน
การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง
เป็นหลักการถอดตัวอักษรไทยเป็นอักษรโรมันอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถาน
ใช้ในสำหรับหนังสือและสิ่งพิมพ์ของรัฐบาล และป้ายชื่อถนนต่างๆ ในประเทศไทย รูปแบบใหม่ประกาศใช้เมื่อ
11 มกราคม พ.ศ. 2542
1. ตารางเทียบเสียงพยัญชนะและสระ
|
|
อักษรไทย
|
อักษรโรมัน
|
–ะ, –ั, รร
(มีตัวอักษรอื่นตาม), –า
|
a
|
รร
(ไม่มีตัวอักษรตาม)
|
an
|
–ำ
|
am
|
–ิ,
–ี
|
i
|
–ึ,
–ื
|
ue
|
–ุ,
–ู
|
u
|
เ–ะ,
เ–็, เ–
|
e
|
แ–ะ,
แ–
|
ae
|
โ–ะ,
–, โ–, เ–าะ, –อ
|
o
|
เ–อะ,
เ–ิ, เ–อ
|
oe
|
เ–ียะ,
เ–ีย
|
ia
|
เ–ือะ,
เ–ือ
|
uea
|
–ัวะ,
–ัว, –ว–
|
ua
|
ใ–,
ไ–, –ัย, ไ–ย,
–าย
|
ai
|
เ–า,
–าว
|
ao
|
–ุย
|
ui
|
โ–ย,
–อย
|
oi
|
เ–ย
|
oei
|
เ–ือย
|
ueai
|
–วย
|
uai
|
–ิว
|
io
|
เ–็ว,
เ–ว
|
eo
|
แ–็ว,
แ–ว
|
aeo
|
เ–ียว
|
iao
|
2. ความหมายของคำ
หน่วยคำ
หมายถึง หน่วยที่เล็กที่สุดและมีความหมาย อาจมีเพียงพยางค์เดียวก็ได้
คำ
หมายถึง หน่วยของภาษาที่สื่อถึงความหมายซึ่งประกอบด้วยพยางค์หนึ่งพยางค์หรือมากกว่า
ปกติแล้วในแต่ละคำจะมีรากศัพท์ของคำแสดงถึงความหมายและที่มาของคำนั้น
โดยการนำคำหลายคำมาประกอบกันจะทำให้เกิดวลีหรือประโยคซึ่งใช้สื่อความหมายให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นไป
คำประสม คือ
คำที่สร้างจากคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไป เกิดเป็นคำใหม่ มีความหมายใหม่ แต่ยังมีเค้าของความหมายเดิม ส่วนมากมักเป็นการประสมคำระหว่างคำไทยกับคำไทยแต่อาจมีคำประสมบางคำที่ประสม ระหว่างคำไทยกับคำภาษาอื่น
คำทับศัพท์
หมายถึง คำที่รับจากภาษาหนึ่งมาใช้ในอีกภาษาหนึ่ง โดยวิธีถ่ายเสียงและถอดอักษร
เช่น เขียนทับศัพท์และแปลทับศัพท์"
3. การใช้เครื่องหมาย
“”
ในกรณีที่คำมีหลายพยางค์ อักษรตัวสุดท้ายของพยางค์หน้ากับอักษรตัวแรกของพยางค์ที่ตามมา
อาจทำให้อ่านยาก หรืออ่านผิด ให้ใช้เครื่องหมาย “” เพื่อแยกพยางค์
4.
การแยกคำ
5. การใช้อักษรโรมันตัวใหญ่
6. การถอดชื่อภูมิศาสตร์
7. การถอดคำทับศัพท์
8. การถอดเครื่องหมายต่างๆ
9. การถอดคำย่อ
10. การถอดตัวเลข
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น